ผู้ป่วยโรคมะเร็งกระเพาะอาหารควรระมัดระวังอาหารการกินยังไงหลังการผ่าตัด

โรคมะเร็งกระเพาะอาหาร

หลังทำการผ่าตัดมะเร็งกระเพาะอาหาร ผู้ป่วยบางคนไม่สามารถคุมน้ำหนักของตนได้ เนื่องจากความปาดเจ็บจากการผ่าตัดหรือการรับประทานอาหารผิดปกตินั้น ทำให้โปรตีนและไขมันในร่างกายมีการบริโภคเป็นอย่างมาก จนน้ำหนักลดลง และยังคงเกิดโรคการขาดแคลนวิตามินหรือโรคแทรกซ้อนหลังผ่าตัดมะเร็งกระเพาะอาหารด้วย

หลังทำการผ่าตัดมะเร็งกระเพาะอาหาร ผู้ป่วยมักจะห้ามรับประทานอาหารและน้ำ 24 ถึง 48 ชั่วโมงหลังผ่าตัด หากพบว่ามีการเคลื่อนไหวของลำไส้โดยผู้ป่วยสามารถละบายลมได้ ในกรณีนี้ สามารถให้ผู้ป่วยดื่มน้ำอุ่นหรือเครื่องดื่มน้ำตาลกลูโคสได้นิดหน่อย ถ้าไม่มีอาการผิดปกติ วันที่สองให้รับประทานอาหารที่ย่อยง่ายนิดหน่อย เช่น น้ำข้าวต้ม น้ำซุปผักเป็นต้น แต่ไม่สามารถรับประทานซูโครส น้ำนมหรือน้ำเต้าหู้ เนื่องจากอาหารเหล่านี้จะทำให้ท้องอืด ส่วนวันที่สี่ นอกจากให้รับประทานอาหารที่ย่อยง่ายแล้ว ยังสามารถทานน้ำนมหวานและน้ำเต้าหู้หวานได้ พอถึงวันที่ห้า ให้รับประทานโจ๊ก เกี๊ยว ขนมปัง เค้ก น้ำนมและน้ำเต้าหู้ได้ ส่วนวันที่เก้าให้รับประทานอาหารที่มีสารอาหารเยอะ ย่อยง่าย ไม่มีลักษณะยั่วยุ และนิ่มด้วย วันละห้ามื้อ หากเกิดอาการสะอิดสะเอียนหรือท้องอืด จำต้องลดปริมาณให้น้อยลงหรืองดอาหาร รอถึงอาการหายดีแล้วค่อยเริ่มทานอาหาร

การรับประทานอาหารอย่างเหมาะสมเป็นสิ่งที่สำคัญมากสำหรับผู้ป่วยที่เพิ่มทำการผ่าตัดมะเร็งกระเพาะอาหาร นอกจากชดเชยความสูญเสียของโรคก่อนทำผ่าตัดแล้ว ยังชดเชยสารอาหารที่สูญเสียในการทำผ่าตัด ฉะนั้น ผู้ป่วยจำต้องทานอาหารวันละห้ามื้อเป็นเวลานาน เพื่อรับรองสารอาหาร โปรตีน วิตามินA、B、C ให้พอเพียงต่อร่างกาย พร้อมช่วยให้ร่างกายแข็งแรงขึ้น ควรรับประทานอาหารเช่น ไข่ น้ำนมและอาหารแปรรูปของนม เนื้อไม่ติดมัน เต้าหู้ น้ำเต้าหู้ ผักผลไม้สด ฯลฯ หลี่เลี่ยงอาหารที่มีลักษณะยั่วยุและย่อยยาก เช่น พริก ขึ้นฉ่าย สุรา กาแฟ ชาเข้มหรือใบไม้กระเทียม ฯลฯ

วิธีการทำจำต้องระมัดระวังเป็นอย่างยิ่ง อย่าใช้วิธีการทำแบบทอด รมควันหรือผสมของดิบเนื่องจากอาหารพวกนี้ย่อยยาก ควรใช้วิธีการทำแบบนึ่ง ต้ม เคี่ยว ผู้ป่วยต้องรอให้บาดแผลหายดีแล้วถึงค่อย ๆรับประทานอาหารตามปกติ เนื่องจากกระเพาะอาหารจะเล็กลงตั้งเยอะหลังทำการผ่าตัดมะเร็ง จึงส่งผลกระทบต่อการซึมซับสารอาหาร ฉะนั้น ผู้ป่วยควรรับประทานอาหารที่มีวิตามินดีสูง เช่นเครื่องในของสัตว์และแครอท เพื่อป้องกันโรคกระดูกอ่อนนุ่มหลังการผ่าตัด นอกจากนี้ อย่าเพิ่งเดินเล่นหลังทานอาหารเสร็จ ควรนอนพักผ่อนให้ดี อย่าทานอาหารที่มีน้ำตาลสูงเพื่อป้องกันเกิดอาการที่ไม่ดี

ผู้ป่วยควรรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูงและมีวิตามินดีสูงหลังการผ่าตัดมะเร็งกระเพาะอาหาร ซึ่ง จะดีต่อกระดูกของผู้ป่วย ผักพืชบางชนิดเช่นผักสีเหลืองและสีแดง พร้อมผลไม้ที่มีแคระติน β ซึ่งสารพวกนี้สามารถกลายเป็นวิตามินเอได้ภายได้การทำงานของตับ

ผู้เชี่ยวชาญของโรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจวขอเตือนไว้ว่า หลังการผ่าตัดมะเร็งกระเพาะอาหารและผู้ป่วยสามารถรับประทานอาหารได้ ควรรับประทานอาหารวันละหกมื้อ รอถึงอาการโรคดีขึ้นแล้วลดเป็นวันละห้ามื้อ การรับประทานอาหารอย่างเหมาะสมมีส่วนช่วยให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย พร้อมเพิ่มภูมิต้านทานของร่างกาย ซึ่งแสดงให้เห็นว่า การรับประทานอาหารอย่างถูกต้องเหมาะสมมีบทบาทสำคัญต่อสุขภาพร่างกายของผู้ป่วยหลังการผ่าตัดกระเพาะอาหาร

มะเร็งปากมดลูก
มะเร็งเต้านม
มะเร็งปอด
มะเร็งตับ
มะเร็งต่อมลูกหมาก
มะเร็งกระเพาะอาหาร
มะเร็งกระดูก
มะเร็งผิวหนัง
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
มะเร็งลำไส้ใหญ่
มะเร็งตับอ่อน
มะเร็งหลอดอาหาร
มะเร็งสมอง
มะเร็งช่องปาก
มะเร็งท่อน้ำดี
มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก
มะเร็งคอ
มะเร็งถุงน้ำดี
มะเร็งช่องคลอด
มะเร็งองคชาติ
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
มะเร็งโพรงจมูก
มะเร็งลำไส้เล็ก
มะเร็งไต
มะเร็งทวารหนัก
มะเร็งอัณฑะ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด Multiple myeloma
มะเร็งต่อมหมวกไต
มะเร็งกระดูกสันหลัง
มะเร็งลำไส้
มะเร็งตา
โรคมะเร็งเนื้อเยื่ออ่อน
มะเร็งลิ้น
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งรังไข่
มะเร็งต่อมไทรอยด์
อาการโรคมะเร็ง การวินิจฉัยโรคมะเร็ง การรักษาโรคมะเร็ง
ผู้สื่อข่าวสำนักพิมพ์ไทยรัฐประเทศไทย เดินทางไปสัมภาษณ์โรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจวถึงเมืองกวางเจา และเห
โครงการ 2,000,000 บาท ช่วยเหลือผู้ป่วยโรคมะเร็งของมูลนิธิบ่ออ้าย (ประเทศไทย)
งานมอบรางวัล “ผู้กล้าสู้มะเร็งประจำเดือนมีนาคม”
ผู้บริหารของโรงพยาบาลเราได้พบคุณห่าวซีซานสมาชิกสถาบันด้านวิศวกรรมแห่งประเทศจีน เพื่อเสาะหาความร่วมมือและการพัฒนา
กลุ่ม MDT ช่วยให้ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมมีสุขภาพที่แข็งแรงและกลับมามีความมั่นใจอีกครั้ง
นำโรงพยาบาลเข้าสู่มาตรฐาน JCI ยกระดับให้โรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจว
สุขไปกับชีวิตสายการแพทย์ เติมเต็มคุณค่าของชีวิต
การฝังแร่ไอโอดีน เสียงสวรรค์ของผู้ป่วยมะเร็ง --การประชุมใหญ่ด้านเทคโนโลยีการรักษามะเร็งด้วยการฝังแร่ไอโอดีนครั้งที่ 13 ณ ประเทศจีน