การจัดสรรอาหารให้กับผู้ป่วยมะเร็ง

การรักษาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งให้ดีขึ้น จำเป็นที่จะต้องพึ่งพาสารอาหารหลากหลายชนิด ปัญหาที่สำคัญของผู้ป่วยมะเร็งคืออุปสรรคของการรับประทานอาหาร การปรับอาหารของผู้ป่วยให้ดีขึ้นจึงเป็นส่วนสำคัญในการรักษาโรคมะเร็ง และการจัดสรรอาหารที่เหมาะสมให้กับผู้ป่วยมะเร็ง ก็สามารถช่วยเสริมความต้านทานของร่างกายให้สูงขึ้น ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการรักษาโรคให้กับผู้ป่วย

อาหารของผู้ป่วยมะเร็ง

การจัดสรรอาหารให้กับผู้ป่วยมะเร็ง ควรให้ความสำคัญกับสิ่งต่อไปนี้

1.จัดสรรอาหารประเภทโปรตีน ที่มีลักษณะย่อยง่าย เช่น นม ไข่ ปลา ถั่วชนิดต่างๆ ที่จะสามารถช่วยเพิ่มภูมิต้านทานให้กับร่างกายในการต่อต้านมะเร็ง นมวัวและไข่ สามารถช่วยปรับปรุงความไม่เป็นระเบียบของโปรตีนได้

2.รับประทานอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตอย่างพอเหมาะ เสริมสร้างแคลอรี ผู้ป่วยที่รักษาด้วยรังสีในปริมาณมาก สามารถทำให้ประสิทธิภาพการเผาผลาญน้ำตาลในร่างกายลดลง ไกลโคเจนลดลงอย่างเห็นได้ชัด กรดแลคติกในเลือดเพิ่มขึ้น ไม่สามารถนำกลับมาใช้ได้อีก และการทำงานของอินซูลินไม่เพียงพอ ดังนั้นผลของการสริมด้วยน้ำตาลกลูโคสจึงมีประสิทธิภาพดี นอกจากนี้ ควรรับประทานน้ำผึ้ง ข้าว หมี่ มันฝรั่ง เป็นต้น อย่างเหมาะสม และอาหารที่อุดมไปด้วยน้ำตาลอื่นๆ เพื่อเสริมความร้อน

3.ควรรับประทานอาหารที่ส่งผลในการต่อต้านมะเร็ง เช่น ตะพาบน้ำ เห็ด เห็ดหูหนู กระเทียม สาหร่ายทะเล มัสตาร์ด รวมถึงนมผึ้ง เป็นต้น

4.วิตามินเอและวิตามินซี มีส่วนยับยั้งในการแพร่กระจายและความผิดปกติของเซลล์ ส่งเสริมเยื่อบุเซลล์ผิวให้มีลักษณะมั่นคง วิตามินซียังสามารถป้องกันอาการที่เกิดขึ้นโดยทั่วไปของการฉายรังสี และยังสามารถทำให้ระดับเซลล์เม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น วิตามินอี สามารถช่วยส่งเสริมการแบ่งเซลล์ ชะลอความเสื่อมสภาพของเซลล์ วิตามินบีหนึ่ง ช่วยเพิ่มความอยากอาหารให้กับผู้ป่วย ลดอาการข้างเคียงที่เกิดจากการรักษาด้วยการฉายแสง ด้วยเหตุนี้ จึงควรรับประทานที่อุดมไปด้วยวิตามินดังที่กล่าวมา เช่น ผัก ผลไม้ น้ำมันงา ธัญพืช พืชตระกูลถั่วรวมถึงเครื่องในสัตว์ เป็นต้น

5.การรับประทานอาหารที่หลากหลาย ให้ความใส่ใจกับสี กลิ่น รสชาติ ลักษณะ เพื่อส่งเสริมความอยากอาหารให้กับผู้ป่วย การปรุงอาหารควรใช้วิธีการนึ่ง ตุ๋น ต้ม หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และการรับประทานอาหารที่ย่อยยาก

6.หลังจากทำการผ่าตัดเนื้องอกส่วนต่างๆ แล้ว อาจทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน การย่อยอาหารและการดูดซึมมีความยากลำบากรวมถึงผู้ป่วยที่ขาดสารอาหาร โดยกำหนดอาหารที่แตกต่างกันตามสภาพร่างกายของผู้ป่วย จำเป็นที่จะต้องให้สารอาหารที่จำเป็นเพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย

มะเร็งปากมดลูก
มะเร็งเต้านม
มะเร็งปอด
มะเร็งตับ
มะเร็งต่อมลูกหมาก
มะเร็งกระเพาะอาหาร
มะเร็งกระดูก
มะเร็งผิวหนัง
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
มะเร็งลำไส้ใหญ่
มะเร็งตับอ่อน
มะเร็งหลอดอาหาร
มะเร็งสมอง
มะเร็งช่องปาก
มะเร็งท่อน้ำดี
มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก
มะเร็งคอ
มะเร็งถุงน้ำดี
มะเร็งช่องคลอด
มะเร็งองคชาติ
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
มะเร็งโพรงจมูก
มะเร็งลำไส้เล็ก
มะเร็งไต
มะเร็งทวารหนัก
มะเร็งอัณฑะ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด Multiple myeloma
มะเร็งต่อมหมวกไต
มะเร็งกระดูกสันหลัง
มะเร็งลำไส้
มะเร็งตา
โรคมะเร็งเนื้อเยื่ออ่อน
มะเร็งลิ้น
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งรังไข่
มะเร็งต่อมไทรอยด์
อาการโรคมะเร็ง การวินิจฉัยโรคมะเร็ง การรักษาโรคมะเร็ง
ผู้สื่อข่าวสำนักพิมพ์ไทยรัฐประเทศไทย เดินทางไปสัมภาษณ์โรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจวถึงเมืองกวางเจา และเห
โครงการ 2,000,000 บาท ช่วยเหลือผู้ป่วยโรคมะเร็งของมูลนิธิบ่ออ้าย (ประเทศไทย)
งานมอบรางวัล “ผู้กล้าสู้มะเร็งประจำเดือนมีนาคม”
ผู้บริหารของโรงพยาบาลเราได้พบคุณห่าวซีซานสมาชิกสถาบันด้านวิศวกรรมแห่งประเทศจีน เพื่อเสาะหาความร่วมมือและการพัฒนา
กลุ่ม MDT ช่วยให้ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมมีสุขภาพที่แข็งแรงและกลับมามีความมั่นใจอีกครั้ง
นำโรงพยาบาลเข้าสู่มาตรฐาน JCI ยกระดับให้โรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจว
สุขไปกับชีวิตสายการแพทย์ เติมเต็มคุณค่าของชีวิต
การฝังแร่ไอโอดีน เสียงสวรรค์ของผู้ป่วยมะเร็ง --การประชุมใหญ่ด้านเทคโนโลยีการรักษามะเร็งด้วยการฝังแร่ไอโอดีนครั้งที่ 13 ณ ประเทศจีน