ตับของมนุษย์เปรียบเสมือนโรงงานเคมี มีความสามารถทำให้สารอาหารที่มนุษย์รับประทานเข้าไปใช้ประโยชน์กลับคืนเข้าสู่ร่างกาย เมื่อตับเกิดเซลล์มะเร็งขึ้น ส่งผลกระทบต่อชีวิตมนุษย์ การหาโรงพยาบาลที่รักษามะเร็งโดยเฉพาะ ทิศทางการรักษาควบคู่กัน และการรับประทานอาหารอย่างเหมาะสม จึงมีบทบาทสำคัญต่อการฟื้นฟูร่างกายของผู้ป่วย
การรับประทานอาหารในชีวิตประจำวัน จำเป็นต้องอุดมไปด้วยสารอาหารต่างๆ ประกอบกัน ไม่เพียงแต่วิตามิน โปรตีน ฟรุกโทส กรดผลไม้ โพแทสเซียม แคลเซียม เหล็ก กรดอะมิโน เป็นส่วนประกอบสำคัญในการสร้างระบบภูมิคุ้มกัน ควบคุมและทำลายส่วนประกอบสำคัญของเซลล์มะเร็ง ไม่เพียงแต่มีคุณค่าทางโภชนาการ ยังมีส่วนช่วยป้องกันและต่อต้านมะเร็ง อาหารประเภทไหนที่ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายควรระวัง? คำถามที่ผู้ป่วยและคนในครอบครัวมักจะกังวล ในส่วนล่างนี้ผู้เชี่ยวชาญจากโรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจวจะช่วยตอบข้อสงสัย
1.อาหารของผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายควรหลีกเลี่ยงอาหารประเภทเดียว ควรรับประทานอาหารที่หลากหลาย การรับประทานอาหารหลัก สามารถรับประทานข้าวสวย ก๋วยเตี๋ยว เกี๊ยวต้มหรือเกี๊ยวกรอบ ข้าวต้มกุ๊ย โจ๊กธัญพืชรับประทานด้วยกันกับหมั่นโถ ซาลาเปาเนื้อหรือซาลาเปาผัก การปรุงอาหารด้วยการเผา ผัด และนึ่ง วิธีการปรุงอาหารพยายามจัดสรรอย่างเหมาะสมทั้งสี กลิ่นและรสชาติ น้ำมันที่ใช้ผัดผักควรเป็นน้ำมันพืช ไม่เพียงแต่มีส่วนช่วยการดูดซึมวิตามินที่ละลายในไขมัน แต่ยังเป็นการให้ความร้อนที่จำเป็นเสริมอีกด้วย
2.อาหารที่เหมาะสมสำหรับการดูแลตับ เช่น อาหารที่เต็มไปด้วยวิตามินบี วิตามินซี รวมถึงอาหารที่มีกรดอะมิโน ถ้าหากว่ามีการนำยาจีนมาทำเป็นอาหารก็จะยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพในการบำรุงตับ
3.การควบคุมอาหารที่มีคอเลสเตอรอล เช่น ไข่ปลา เครื่องในสัตว์ และไข่แดง รับประทานผักใบเขียวและผลไม้ เช่น ผักกาดขาว หัวไชเท้า มะเขือเทศ ถั่วชนิดต่างๆ แครอท น้ำส้มคั้น น้ำลูกแพร์ น้ำแอปเปิ้ล น้ำเกาลัด เป็นต้น
4.การรับประทานอาหารประเภทแมกนีเซียม และกรดอะมิโน มีประโยชน์ในการช่วยแก้ไขอาการนอนไม่หลับ ความกลัว โรคซึมเศร้า อาหารที่อุดมไปด้วยแมกนีเซียม เช่น ผลไม้แห้ง ข้าวกล้อง ข้าวโพด ข้าวสาลี เมล็ดงา ใบแครอท ใบมัสตาร์ด ดอกไม้จีน สาหร่าย สาหร่ายทะเล เป็นต้น อาหารที่ประกอบไปด้วยกรดอะมิโน เช่น เนื้อไก่ โยเกิร์ต กล้วย เป็นต้น
การบริโภคอาหารของผู้ป่วยมะเร็งตับจำเป็นที่จะต้องรักษาโภชนาการให้พอดี เมื่อพิจารณาการรับประทานอาหารของผู้ป่วยแล้วจะพบว่ามีสุขนิสัยในการรับประทานอาหารที่ไม่ดี วิธีที่ง่ายที่สุดคือสามารถควบคุมน้ำหนักได้หรือไม่ วิธีการที่ดีที่สุดคือการควบคุมอาหารให้เหมาสมที่สุด ผู้ป่วยมะเร็งตับมักจะมีความอยากอาหารลดลง คลื่นไส้อาเจียน ท้องบวม ระบบการย่อยอาหารไม่ดี เป็นต้น เช่น น้ำบ๊วย น้ำส้มคั้น น้ำผลไม้ น้ำขิง ซุปก๊วยเตี๋ยว โจ๊กธัญพืช เป็นต้น ที่สามารถช่วยในการย่อย และบรรเทาอาการเจ็บปวด หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่เย็นเกินไป ร้อนเกินไป อิ่มเกินไป ผู้ป่วยมะเร็งตับมักมีอาการคลื่นไส้อาเจียน ความอยากอาหารลดลง จึงควรรับประทานอาหารที่มีรสเบาและย่อยง่าย เช่น นมอัลมอนด์ แป้งรากบัว ซุปข้าวโพด วุ้นซานจา เป็นต้น
โรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจว ได้นำวิธีการของแพทย์แผนจีนและหลักโภชนาการมาผสมผสานกัน เพื่อให้สอดคล้องกับการกินอาหารของผู้ป่วย และลักษณะของโรค โดยกำหนดโภชนาการตามน้ำหนักตัว มุ่งเน้นไปที่ทักษะการทำอาหาร เพื่อให้มีรูปแบบที่น่ารับประทานและยังสามารถเพิ่มสารอาหารให้กับผู้ป่วยรวมไปถึงประสิทธิภาพในการต่อต้านมะเร็ง