การตรวจวินิจฉัยมะเร็งต่อมน้ำเหลือง

   หากร่างกายปรากฏก้อนเนื้อที่ไม่ทราบสาเหตุการเกิดแน่ชัด จำเป็นต้องใช้เวลาสังเกตช่วงระยะหนึ่ง ถ้าหากก้อนเนื้อไม่หายไป แม้จะไม่รู้สึกว่าเจ็บปวดก็ต้องรีบไปตรวจวินิจฉัยที่โรงพยาบาล เมื่อแพทย์สงสัยว่าจะเป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลือง สามารถตัดชิ้นเนื้อบริเวณต่อมน้ำเหลืองหรือตัดบริเวณอวัยวะหรือตำแหน่งอื่นๆ ที่มีอาการเจ็บปวด มาทำการตรวจวินิจฉัยให้แน่ชัด ผู้เชี่ยวชาญด้านมะเร็งของโรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจวเตือนว่า การตรวจวินิจฉัยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองไม่ควรทำการตรวจโดยไม่ไตร่ตรองให้ดีก่อน เนื่องจากตำแหน่งรอยโรคและขอบเขตแตกต่างกัน อาการแสดงก็ไม่เหมือนกัน การตรวจวินิจฉัยโดยไม่ไตร่ตรองจะยิ่งทำให้ความเป็นไปได้ในการตรวจวินิจฉัยผิดพลาดมีมากขึ้น ด้วยเหตุนี้จึงต้องระมัดระวังในส่วนของวิธีการตรวจวินิจฉัยมะเร็งต่อมน้ำเหลือง ควรทำการตรวจอย่างเป็นระบบ

โรคมะเร็งต่อมน้ำเหลือง

วิธีการตรวจวินิจฉัยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองมีอะไรบ้าง?

การตรวจโดยภาพถ่ายทางการแพทย์

1. การตรวจอัลตราซาวด์ : การตรวจอัลตราซาวด์สามารถแสดงให้เห็นต่อมน้ำเหลืองที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 2 เซนติเมตร แต่ไม่สามารถแยกแยะได้ว่า ต่อมน้ำเหลืองที่ใหญ่ขึ้นนั้น เกิดขึ้นเนื่องจากการรุกล้ำของเนื้องอกหรือเป็น Reactive hyperplasia หรือเกิดจากการอักเสบเรื้อรัง อีกทั้งการตรวจอัลตราซาวด์สามารถแสดงให้เห็นตับม้ามที่บวมโต รวมทั้งเนื้องอกขนาดเล็กๆ ที่อยู่ในตับม้ามได้อย่างชัดเจน

2. การตรวจ CT การตรวจ NMR และ : สามารถแสดงให้เห็นรอยโรคต่อมน้ำเหลืองภายในทรวงอก หลังเยื่อบุช่องท้องและเยื่อ mesentery รวมถึงรอยโรคที่ตับและม้าม เมื่อตรวจพบว่ามีเนื้องอกในร่างกาย แพทย์จะนำสารบ่งชี้มะเร็งจากร่างกายของผู้ป่วยไปทำการตรวจทางพยาธิวิทยา เพื่อวินิจฉัยให้แน่ชัดว่าเป็นก้อนเนื้อชนิดดีหรือชนิดร้าย การตรวจด้วยวิธีนี้เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่พบอาการต่อมน้ำเหลืองบวมโต


การตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็งทางพยาธิวิทยา

1. การตรวจต่อมน้ำเหลืองทางพยาธิวิทยา : โดยทั่วไปมะเร็งต่อมน้ำเหลืองควรใช้การตรวจทางพยาธิวิทยาเพื่อการวินิจฉัยที่แน่ชัด ซึ่งตัวอย่างการตรวจทางพยาธิวิทยานี้จะยึดต่อมน้ำเหลืองเป็นหลัก

2. การตรวจเลือด : เซลล์เม็ดเลือดขาวของผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดฮอดจ์กินส่วนใหญ่จะเป็นปกติ แต่ในระยะสุดท้ายเม็ดเลือดขาวลิมโฟไซต์จะลดลง ส่วนผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดนอนฮอดจ์กิน เมื่อทำการตรวจจะพบว่าจำนวนเซลล์เม็ดเลือดขาวมากกว่าคนปกติ ทำให้เม็ดเลือดขาวลิมโฟไซต์เพิ่มขึ้นไปด้วย

3. การตรวจไขกระดูกทางพยาธิวิทยา : มะเร็งต่อมน้ำเหลืองรุกล้ำเข้าไขกระดูกนั้นมีอัตราสูงถึง 40% - 90% เลยทีเดียว เนื่องด้วยความสำคัญในทางคลีนิคของการตรวจไขกระดูก จึงมักต้องทำการเจาะตรวจชิ้นเนื้อหนึ่งครั้ง หรืออาจจะมากกว่าหนึ่งครั้งขึ้นไป

4. การตรวจชิ้นเนื้อตับ : ในมะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดนอนฮอดจ์กิน เม็ดเลือดขาวลิมโฟไซต์

ขนาดเล็กและ Small cleaved cell จะมีการรุกล้ำที่ตับง่ายกว่า Large cleaved cell

5. การตรวจเนื้อเยื่อทางพยาธิวิทยา : เป็นวิธีการตรวจเพื่อยืนยันผลวินิจฉัยที่ไม่สามารถขาดได้ ซึ่งโดยทั่วไปจะเลือกตรวจต่อมน้ำเหลืองบริเวณใต้ลำคอหรือบริเวณรักแร้

6. การส่องกล้องตรวจช่องอก ( mediastinoscopy ) : การส่องกล้องในช่องอกสามารถตรวจชิ้นเนื้อได้โดยผ่านด้านนอกเยื่อหุ้มปอดเข้าไปในประจันอก ซึ่งเป็นวิธีที่ค่อนข้างง่าย สะดวกและปลอดภัย

ผู้เชี่ยวชาญด้านมะเร็งของโรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจวเตือนว่า หากตรวจวินิจฉัยแน่ชัดแล้วว่าเป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลือง ก่อนอื่นต้องไม่ตื่นตระหนก จะต้องประเมินว่าควรดูแลอย่างไร โดยยึดตามสภาพโดยรวมทั้งหมด ทำการปรึกษาหลายๆ ด้าน ซึ่งโดยทั่วไปมะเร็งต่อมน้ำเหลืองจะไม่เหมาะกับการผ่าตัด โดยเฉพาะในภาวะที่ก้อนเนื้องอกไปกดทับเส้นประสาทหรืออยู่ใกล้หลอดเลือดใหญ่ จึงแนะนำให้ใช้เทคนิคแบบบูรณาการ ใช้เทคโนโลยีแบบบาดแผลเล็ก เพื่อให้ได้รับผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพค่อนข้างดี






**หมายเหตุ : ผลลัพธ์ที่ได้จะขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของแต่ละบุคคล

ติดตามข้อมูลข่าวสารและเกร็ดความรู้ดีๆจากเราได้ที่
FB: https://www.facebook.com/cancerhospitalth/
Website: http://www.moderncancerthai.com/
Line Official: moderncancer
-------------------------------------------
หากมีข้อสงสัยสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
02-645-2499 , 082-799-2888 , 095-680-5019 , 02-645-2799
รพ.มะเร็งสมัยใหม่กว่างโจวแสตมฟอร์ด

มะเร็งปากมดลูก
มะเร็งเต้านม
มะเร็งปอด
มะเร็งตับ
มะเร็งต่อมลูกหมาก
มะเร็งกระเพาะอาหาร
มะเร็งกระดูก
มะเร็งผิวหนัง
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
มะเร็งลำไส้ใหญ่
มะเร็งตับอ่อน
มะเร็งหลอดอาหาร
มะเร็งสมอง
มะเร็งช่องปาก
มะเร็งท่อน้ำดี
มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก
มะเร็งคอ
มะเร็งถุงน้ำดี
มะเร็งช่องคลอด
มะเร็งองคชาติ
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
มะเร็งโพรงจมูก
มะเร็งลำไส้เล็ก
มะเร็งไต
มะเร็งทวารหนัก
มะเร็งอัณฑะ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด Multiple myeloma
มะเร็งต่อมหมวกไต
มะเร็งกระดูกสันหลัง
มะเร็งลำไส้
มะเร็งตา
โรคมะเร็งเนื้อเยื่ออ่อน
มะเร็งลิ้น
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งรังไข่
มะเร็งต่อมไทรอยด์
อาการโรคมะเร็ง การวินิจฉัยโรคมะเร็ง การรักษาโรคมะเร็ง
ผู้สื่อข่าวสำนักพิมพ์ไทยรัฐประเทศไทย เดินทางไปสัมภาษณ์โรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจวถึงเมืองกวางเจา และเห
โครงการ 2,000,000 บาท ช่วยเหลือผู้ป่วยโรคมะเร็งของมูลนิธิบ่ออ้าย (ประเทศไทย)
งานมอบรางวัล “ผู้กล้าสู้มะเร็งประจำเดือนมีนาคม”
ผู้บริหารของโรงพยาบาลเราได้พบคุณห่าวซีซานสมาชิกสถาบันด้านวิศวกรรมแห่งประเทศจีน เพื่อเสาะหาความร่วมมือและการพัฒนา
กลุ่ม MDT ช่วยให้ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมมีสุขภาพที่แข็งแรงและกลับมามีความมั่นใจอีกครั้ง
นำโรงพยาบาลเข้าสู่มาตรฐาน JCI ยกระดับให้โรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจว
สุขไปกับชีวิตสายการแพทย์ เติมเต็มคุณค่าของชีวิต
การฝังแร่ไอโอดีน เสียงสวรรค์ของผู้ป่วยมะเร็ง --การประชุมใหญ่ด้านเทคโนโลยีการรักษามะเร็งด้วยการฝังแร่ไอโอดีนครั้งที่ 13 ณ ประเทศจีน