การวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูก

   มะเร็งปากมดลูกเป็นโรคที่สุภาพสตรีมากมายกังวลและหวาดกลัว เพราะมะเร็งปากมดลูกเป็นอันตรายต่อสุขภาพและชีวิต แต่หากตรวจคัดกรองและตรวจวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูก ก็จะสามารถดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญด้านมะเร็งของโรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจว จะให้คำแนะนำแก่ท่านเกี่ยวกับวิธีตรวจและวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูกดังต่อไปนี้

การวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูก

วิธีการตรวจวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูกที่พบเห็นบ่อย

๑. การตรวจแปปสเมียร์ ( Pap smear )

การตรวจแปปสเมียร์ เป็นวิธีการสำคัญในการตรวจหาเซลล์ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงก่อนเป็นมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะแรก แต่ควรระวังในการเก็บเซลล์ในตำแหน่งที่ถูกต้องและส่องกล้องวินิจฉัยอย่างละเอียด เพราะอาจมีผลข้างเคียงซึ่งมีอัตรา 5%-10% ฉะนั้น ควรบูรณาการการตรวจวินิจฉัย รวมถึงแผนการทางการแพทย์ อีกทั้งทำการตรวจตามกำหนด ให้วิธีนี้เป็นการคัดกรองอีกวิธีหนึ่ง

๒. การทดสอบด้วยไอโอดีน

โดยปกติปากมดลูกและเนื้อเยื่อบุผิวช่องคลอดจะมีไกลโคเจนอยู่ ซึ่งเมื่อถูกไอโอดีนจะกลายเป็นสีน้ำตาล แต่เนื้อเยื่อบุผิวปากมดลูก ปากมดลูกกร่อน และเนื้อเยื่อบุผิวที่ผิดปกติ ( รวมถึงการแปรสภาพของเนื้อเยื่อบุผิว การงอกขยายโดยไร้แบบแผน บริเวณมะเร็งหนังกำพร้ารวมทั้งบริเวณที่มะเร็งลุกลาม ) จะเป็นส่วนที่ไม่มีไกลโคเจนอยู่ จึงไม่เกิดสี ฉะนั้น หลังจากใช้เครื่องถ่างขยายช่องคลอดเพื่อดูปากมดลูกแล้ว ก็จะเช็ดน้ำเมือกบนผิวออก จากนั้นป้ายไอโอดีนที่ปากมดลุกและบริเวณร่องล้อมรอบส่วนนอกของคอมดลูกกับปากมดลูก หากพบบริเวณที่ไอโอดีนมีผลลบแบบผิดปกติ ก็จะนำชิ้นเนื้อตรงจุดนี้ส่งตรวจทางพยาธิวิทยาต่อไป

๓. การตรวจเนื้อเยื่อปากมดลูกและช่องปากมดลูก

เป็นการตรวจแปปสเมียร์ระดับ Ⅲ ถึง Ⅳ ขึ้นไป แต่เมื่อการตรวจชิ้นเนื้อเป็นผลลบ ควรนำชิ้นเนื้อตรงจุดที่หก เก้า สิบสองและสามบริเวณรอยต่อของเซลล์เยื่อบุผิวไปตรวจ หรือนำเนื้อเยื่อตรงบริเวณที่ทดสอบด้วยไอโอดีนแล้วไม่เกิดสีรวมทั้งบริเวณที่สงสัยว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงเป็นเซลล์มะเร็งไปตรวจ หรือใช้เครื่องมือขูดช่องปากมดลูก เพื่อนำเซลล์ไปตรวจทางพยาธิวิทยาต่อไป

๔. การตรวจด้วยกล้องคอลโปสโคป (Colposcopy)

การตรวจด้วยกล้องคอลโปสโคปไม่สามารถตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็งปากมดลูกได้โดยตรง แต่มีส่วนช่วยในการเลือกตำแหน่งที่จะนำชิ้นเนื้อไปตรวจ จากสถิติพบว่า หากสามารถนำชิ้นเนื้อมาตรวจได้ภายใต้การช่วยเหลือของกล้องคอลโปสโคป อัตราความแม่นยำในการตรวจวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูกในระยะแรกสูงถึงประมาณ 98% เลยทีเดียว แต่การตรวจด้วยกล้องคอลโปสโคปนั้นไม่สามารถแทนที่การตรวจแปปสเมียร์และการตรวจเนื้อเยื่อได้ อีกทั้งไม่สามารถตรวจสภาพการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ช่องปากมดลูกอีกด้วย

ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคมะเร็งของโรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจวแนะว่า การตรวจและวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูกสามารถช่วยให้พบมะเร็งปากมดลูกได้เร็ว และหลีกเลี่ยงการดูแลที่สายเกินไป






**หมายเหตุ : ผลลัพธ์ที่ได้จะขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของแต่ละบุคคล

ติดตามข้อมูลข่าวสารและเกร็ดความรู้ดีๆจากเราได้ที่
FB: https://www.facebook.com/cancerhospitalth/
Website: http://www.moderncancerthai.com/
Line Official: moderncancer
-------------------------------------------
หากมีข้อสงสัยสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
02-645-2499 , 082-799-2888 , 095-680-5019 , 02-645-2799
รพ.มะเร็งสมัยใหม่กว่างโจวแสตมฟอร์ด

มะเร็งปากมดลูก
มะเร็งเต้านม
มะเร็งปอด
มะเร็งตับ
มะเร็งต่อมลูกหมาก
มะเร็งกระเพาะอาหาร
มะเร็งกระดูก
มะเร็งผิวหนัง
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
มะเร็งลำไส้ใหญ่
มะเร็งตับอ่อน
มะเร็งหลอดอาหาร
มะเร็งสมอง
มะเร็งช่องปาก
มะเร็งท่อน้ำดี
มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก
มะเร็งคอ
มะเร็งถุงน้ำดี
มะเร็งช่องคลอด
มะเร็งองคชาติ
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
มะเร็งโพรงจมูก
มะเร็งลำไส้เล็ก
มะเร็งไต
มะเร็งทวารหนัก
มะเร็งอัณฑะ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด Multiple myeloma
มะเร็งต่อมหมวกไต
มะเร็งกระดูกสันหลัง
มะเร็งลำไส้
มะเร็งตา
โรคมะเร็งเนื้อเยื่ออ่อน
มะเร็งลิ้น
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งรังไข่
มะเร็งต่อมไทรอยด์
อาการโรคมะเร็ง การวินิจฉัยโรคมะเร็ง การรักษาโรคมะเร็ง
ผู้สื่อข่าวสำนักพิมพ์ไทยรัฐประเทศไทย เดินทางไปสัมภาษณ์โรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจวถึงเมืองกวางเจา และเห
โครงการ 2,000,000 บาท ช่วยเหลือผู้ป่วยโรคมะเร็งของมูลนิธิบ่ออ้าย (ประเทศไทย)
งานมอบรางวัล “ผู้กล้าสู้มะเร็งประจำเดือนมีนาคม”
ผู้บริหารของโรงพยาบาลเราได้พบคุณห่าวซีซานสมาชิกสถาบันด้านวิศวกรรมแห่งประเทศจีน เพื่อเสาะหาความร่วมมือและการพัฒนา
กลุ่ม MDT ช่วยให้ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมมีสุขภาพที่แข็งแรงและกลับมามีความมั่นใจอีกครั้ง
นำโรงพยาบาลเข้าสู่มาตรฐาน JCI ยกระดับให้โรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจว
สุขไปกับชีวิตสายการแพทย์ เติมเต็มคุณค่าของชีวิต
การฝังแร่ไอโอดีน เสียงสวรรค์ของผู้ป่วยมะเร็ง --การประชุมใหญ่ด้านเทคโนโลยีการรักษามะเร็งด้วยการฝังแร่ไอโอดีนครั้งที่ 13 ณ ประเทศจีน